วันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.ณ ห้องกรองแก้ว ชั้น ๑ โรงแรม แคนทารี โคราช จังหวัดนครราชสีมาการชี้แจงความเป็นมา และวัตถุประสงค์การดำเนินโครงการ เกี่ยวกับผลการประเมินยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (AML/CFT) พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๖๔ และจัดทำยุทธศาสตร์ด้าน AML/CFT พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ โดยผศ.ดร.ทวิดา กมลเวชช หัวหน้าโครงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับการดำเนินยุทธศาสตร์ด้าน AML/CFTร่วมกับตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม/ประชาชนโดย รศ.ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว รศ.ดร.เทพรัตน์ พิมลเสถียร และรศ.ดร.กมลพร สอนศรี (ผ่านระบบออนไลน์)รศ.ดร.เทพรัตน์ พิมลเสถียร คุณธนพัฒน์ ภคชัยวิศิษฏ์คณะที่ปรึกษาเพื่อจัดทำผลการประเมินยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (AML/CFT) พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔และยุทธศาสตร์ด้าน AMLICFT พ.ศ. ๒๕’๖๕ – ๒๕๗o เพื่อประเมินผลการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ด้าน AMLICFT พ.ศ. ๒๕๖ㆍ – ๒๕๖๔ และจัดทำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้าน AML/CFT พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐

ส่วนทางด้านสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สำนักงาน ปปง. ได้ดำเนินการจัดจ้างสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นที่ปรึกษาในโครงการจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทำผลการประเมินยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (AML/CFT) พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ และยุทธศาสตร์ด้าน AML/CFT พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐เพื่อประเมินผลการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ด้าน AML/CFT พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ และจัดทำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการด้าน AML/CFT พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗ㆍ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (AML/CFT) ที่เปลี่ยนแปลงไปสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒0 ปี และมาตรฐานสากล เช่นแบบ แบบประเด็นแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย:หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน แบบสนทนากลุ่มผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย:ประชาชน ในการประชุมครั้งนี้ได้เชิญรตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม/ประชาชน อีกด้วย